การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ตั้งค่าหน้ากระดาษ บน ๒.๕ ซ.ม.ล่าง๒.ซ.ม.ซ้าย๓.๕ ซ.ม.ขวา๒.ซ.ม.หน้าปกนอก และปกใน
-------------------------------------------------------------------------------------------------
วรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำ
คณะผู้จัดทำ
๑. นางสาวสุฑามาศ อุดขา เลขที่ ๓ ชั้นม.๔/๑
๒. นางสาวเบญจมาศ บัวแก้ว เลขที่ ๙ ชั้นม.๔/๑
๓. นางสาวศิรินันท์ หอมนาน เลขที่ ๑๐ ชั้นม.๔/๑
๔. นางสาวกุลนันท์ เสาร์จันทร์ เลขที่ ๒๕ ชั้นม.๔/๑
เสนอ
อาจารย์ยงยุทธ โขนภูเขียว
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรียนเชียงคำวิทยาคม อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
----------------------------------------------------------------------------------
คำนำ
รายงานเรื่องวรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำจัดทำขึ้นเพื่อ ( จุดประสงค์ในการทำรายงาน ) ประกอบด้วยเนื้อเรื่อง ๒ บทหลัก คือ ( บอกส่วนประกอบของรายงาน ) คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ( ขอบคุณที่ปรึกษา ผู้ให้ข้อมูล ฯลฯ ที่ให้ความช่วยเหลือ ) และหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย หรือผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องวรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำสืบต่อไป หากมีข้อผิดพลาดเรื่องข้อมูลประการใดผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย และหากมีข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไข กรุณาแจ้งคณะผู้จัดทำจะขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง
คณะผู้จัดทำ
๑๙ มกราคม ๒๕๕๓
--------------------------------------------------------------------------------------------
สารบัญ
บทที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบ้าน
ความหมายของวรรณกรรมพื้นบ้าน
ขอบเขตของวรรณกรรมพื้นบ้าน
ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบ้าน
ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน
บทที่ ๒ รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านเชียงคำ
วรรณกรรมพื้นบ้านบ้านมาง ( ตัวอย่าง )
ตำนานบ้านมาง
วรรรกรรมไทลื้อ
ตำนานไทลื้อนิทานไทลื้อ
วรรรกรรมคนเมือง
ตำนานคนเมือง
เพลงกล่อมเด็ก
-------------------------------------------------------------------------------------------------
หน้าเนื้อหา
เนื้อเรื่องในรายงานมี ๒ บทหลัก ตามหน้าสารบัญ ในบทที่ ๒ เนื้อหาแต่ละกลุ่มจะไม่เหมือนกัน
แต่ในรายงานต้องมีการอ้างอิง ทั้ง ๒ แบบ โดยแบบเชิงอรรถให้เลือก ๑ ใน ๓
๑.การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา
๒.การอ้างอิงแบบทำเป็นเชิงอรรถ
๒.๑เชิงอรรถอ้างอิง
๒.๒เชิงอรรถเสริมความ
๒.๓เชิงอรรถโยง
-----------------------------------------------------------------------------------------
บรรณานุกรมการ
เขียนบรรณานุกรมจากการสัมภาษณ์
แบบแผน
ผู้ให้สัมภาษณ์.ตำแหน่ง ( ถ้ามี ).สัมภาษณ์,วัน เดือน ปี
ตัวอย่าง
ไพลิน รุ้งรัตน์.สัมภาษณ์, ๑๙ มกราคม ๒๕๕๓
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
แบบแผน
ผู้แต่ง.ชื่อหนังสือ.ครั้งที่พิมพ์.สถานที่พิมพ์:สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์,ปีที่พิมพ์
ตัวอย่าง
ไพลิน รุ้งรัตน์.บ้านหนังสือในหัวใจ.กรุงเทพฯ:คมบาง,๒๕๓๓
เกณฑ์การประเมินผล
ประเมินผล ๒ จุดประสงค์ที่ ๖ การเขียนรายงาน จุดประสงค์ที่ ๑๓ การรวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน
๑. รูปแบบการเขียนรายงานถูกต้อง
๒.การอ้างอิงครบทั้ง ๒ แบบ และถูกต้อง
๓.การเขียนบรรณารุกรมครบทั้ง ๓ ชนิด
๔.เนื้อหาครบทั้ง ๒ บท โดยบทที่ ๒ มีวรรณกรรมพื้นบ้าน ๒ ชนิด และ๒หน้า กระดาษขึ้นไปต่อคน
๕.ความสวยงาม ความน่าสนใจ ภาพประกอบ
ส่งฉบับร่างสัปดาห์หน้า ฉบับจริง ๒๖ ก.พ. ๕๓